ระบบการจัดเก็บและเรียกคืนวัสดุอัตโนมัติ (Automated Storage/Retrieval System เรียกโดยย่อว่า AS/RS) คือ การทำงานของระบบการจัดเก็บในคลังสินค้าหรือโกดัง
ที่มีการควบคุมด้วยระบบการจัดเก็บวัสดุ การรับวัสดุ
รวมทั้งการเคลื่อนที่ของอุปกรณ์ขนถ่าย ที่ทำงานร่วมกับโรงงานและคลังสินค้า
ซึ่งสามารถออกแบบการใช้งานให้เหมาะสมกับการทำงานลักษณะต่างๆได้
โดยทั่วไปแล้วปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการจัดเก็บและเรียกใช้ของอุปกรณ์ แบบ AS/RS จะพิจารณาจากลักษณะโครงสร้างของหิ้งที่ใช้จัดเก็บ
ความเร็วในการเคลื่อนของอุปกรณ์ AS/RS ทั้งในแนวดิ่งและแนวราบ
ระบบ AS/RS แบ่งออกเป็นแบบต่าง ๆ ดังนี้
1. Unit Load AS/RS
2. Miniload AS/RS
3. Man-on-Board AS/RS หรือ Manaboard AS/RS
4. Automated Item Retrieval System
5. Deep-Lane AS/RS
2. Miniload AS/RS
3. Man-on-Board AS/RS หรือ Manaboard AS/RS
4. Automated Item Retrieval System
5. Deep-Lane AS/RS
ระบบ AS/RS แบ่งออกเป็นแบบต่าง
ๆ ดังนี้
1. Unit Load AS/RS
2. Miniload AS/RS
3. Man-on-Board AS/RS หรือ Manaboard AS/RS
4. Automated Item Retrieval System
5. Deep-Lane AS/RS
1. Unit Load AS/RS
2. Miniload AS/RS
3. Man-on-Board AS/RS หรือ Manaboard AS/RS
4. Automated Item Retrieval System
5. Deep-Lane AS/RS
การประยุกต์ใช้ระบบ AS/RS
การแยกใช้งานของระบบ AS/RS ออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1. จัดเก็บและเรียกคืน Unit Load
2. หยิบวัสดุตามสั่ง (Order picking)
3. ระบบจัดเก็บวัสดุระหว่างกระบวนการ
การจัดเก็บวัสดุระหว่างกระบวนการ
1. ใช้เก็บชุดของชิ้นงานประกอบ
2. สนับสนุนการผลิตแบบ JIT
3. ใช้เป็นบัฟเฟอร์สำหรับจัดเก็บวัสดุ
4. สามารถใช้งานร่วมกันกับระบบบ่งชี้ชิ้นงานแบบอัตโนมัติ
5. ทำให้เกิดการควบคุมและการติดตามวัสดุอย่างมีประสิทธิภาพ
6. สนับสนุนการทำให้เกิดการทำงานแบบอัตโนมัติทั้งโรงงาน
ประโยชน์ที่จะได้รับ
1. ลดพื้นที่ในการจัดเก็บสินค้า, ลดพื้นที่ในการขนถ่ายสินค้า, เพิ่มปริมาณการจัดเก็บสินค้า, เพิ่มประสิทธิภาพในการเบิกจ่ายสินค้า, ทำงานรวดเร็ว แม่นยำ, บริหารทรัพยากรบุคคล, ประหยัดพลังงานไฟฟ้า
2. เพิ่มความรวดเร็วในการคัดแยกสินค้า, ลดเวลาการทำงานและลดงานที่ซ้ำซ้อน, คัดแยกถูกต้องแม่นยำ100%, ประหยัดพื้นที่คัดแยกสินค้า
1. ลดพื้นที่ในการจัดเก็บสินค้า, ลดพื้นที่ในการขนถ่ายสินค้า, เพิ่มปริมาณการจัดเก็บสินค้า, เพิ่มประสิทธิภาพในการเบิกจ่ายสินค้า, ทำงานรวดเร็ว แม่นยำ, บริหารทรัพยากรบุคคล, ประหยัดพลังงานไฟฟ้า
2. เพิ่มความรวดเร็วในการคัดแยกสินค้า, ลดเวลาการทำงานและลดงานที่ซ้ำซ้อน, คัดแยกถูกต้องแม่นยำ100%, ประหยัดพื้นที่คัดแยกสินค้า
ข้อเสีย
1. ต้องใช้งบลงทุนในเบื้องต้นและงบดำเนินการสูง
โดยเฉพาะในการจัดหาสถานีติดตั้งและการสร้าง อุปกรณ์ตรวจวัด
เนื่องจากเป็นเทคโนโลยีระดับสูง
2. ต้องใช้บุคลากรที่ได้รับการฝึกฝนมาโดยเฉพาะในการดำเนินงาน
เนื่องจากต้องการผู้ที่มีความรู้พื้นฐานที่ดีมากพอสำหรับการบริหารจัดการระบบและการ ใช้ประโยชน์จากข้อมูลที่ได้
3. ข้อมูลที่ได้บางครั้งยังขาดความละเอียดเชิงพื้นที่มากพอ
เนื่องมาจากเป็นการสำรวจจากระยะไกล ทำให้การศึกษาในบางเรื่องอาจมีข้อจำกัดอยู่มากพอควร
4. ข้อมูลที่ได้บางครั้งยังมีความคลาดเคลื่อนอยู่สูง ซึ่งเกิดมาได้จากหลายสาเหตุทั้งส่วนที่เกิดมาจากความบกพร่องของตัวระบบเอง
และส่วนที่เกิดมาจากสภาวะแวดล้อมขณะทำการตรวจวัด
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น